Lorem ipsum dolor sit amet, consectetuer adipiscing elit, sed diam nonummy nibh euismod tincidunt ut laoreet dolore magna aliquam erat volutpat. Ut wisi enim

Subscribe to our newsletter

Lorem ipsum dolor sit amet, consectetuer adipiscing elit, sed diam nonummy nibh euismod tincidunt ut laoreet dolore magna aliquam
[contact-form-7 id="9582" html_class="default"]

อาหารอิสลาม Tag

“ฮาลาล” มาจากภาษาอาหรับ มีความหมายว่า “อนุมัติ” โดยอิสลามได้กำหนดให้มนุษย์บริโภคสิ่งที่ฮาลาลและดี (ตอยยิบ) ที่ผ่านมา เราอาจจะเคยได้ยินเพียงว่า อิสลามไม่รับประทานหมูและไม่ดื่มเครื่องดื่มแอลกออฮอล์ แต่แท้จริงแล้ว ยังมีความเชื่อตามหลักศาสนาที่น่าสนใจอีกมาก ไม่เฉพาะผู้ที่อยู่ในศาสนาอิสลามเท่านั้น เพราะวันนี้ เรื่องของอาหาร อันเป็นอนาคตทางความมั่นคงของโลก มีทางเลือกของอาหารฮาลาล เข้ามาเป็นอีกหนึ่งในประเด็นที่น่าติดตาม ในโอกาสครบรอบ 16 ปี ของ ศูนย์วิทยาศาสตร์ฮาลาล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (ศวฮ.) ได้มีการจัดนิทรรศการสิ่งต้องห้ามและต้องสงสัยตามหลักศาสนบัญญัติอิสลาม Exhibition on Don’ts and Doubts  ณ ศูนย์วิทยาศาสตร์ฮาลาล จุฬาฯ สำนักงานสวนหลวงสแควร์ (ซอยจุฬา 12) เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้งานด้านวิทยาศาสตร์ฮาลาล และเป็นประโยชน์ในภาคอุตสาหกรรม ธุรกิจ เพื่อมุ่งเน้นพัฒนาอุตสาหกรรมฮาลาลของประเทศไทยให้มีความก้าวหน้าอย่างต่อเนื่อง รวมถึงแหล่งเรียนรู้ให้นิสิต

ด้วยประสบการณ์ที่เคยคลุกคลีกับเพื่อนๆ ชาวไทยมุสลิม จึงทำให้เราได้รู้จักภาษามลายูท้องถิ่นที่ใช้ในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้มาบ้าง ที่เรียกกันว่าภาษา “ยาวี”  ซึ่งเป็นภาษามลายูที่ไม่เป็นทางการ ใช้พูด แต่ไม่ใช้เขียน  มีคำง่ายๆ พื้นฐานให้เรียนรู้ จำได้ไม่ยาก เช่นเดียวกับคำที่จำได้ดีอย่างคำว่า “ซือดะห์” (ออกเสียงว่า ซือ-ด๊ะ) ที่แปลว่า “อร่อย” ซึ่งใช้ในชีวิตประจำวัน และได้ยินบ่อยๆ ในโฆษณาอาหารของมุสลิม ที่บอกว่า “ซือดะห์ ซูโงะ” หรือ  อร่อยจริงๆ  อร่อยมากๆ ชาวไทยที่นับถือศาสนาอิสลามในแถบจังหวัด ยะลา นราธิวาส ปัตตานี และสงขลา ในบางพื้นที่เท่านั้นที่จะพูดยาวี ขณะที่จังหวัดสตูล ซึ่งมีประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวไทยมุสลิม ก็ไม่ได้ใช้ภาษานี้ แต่มาถึงสตูลในครั้งนี้ ได้คลุกคลีกับชุมชนชาวไทยมุสลิมจนเกิดความประทับใจ จากเอกลักษณ์อาหารท้องถิ่นที่น่าสนใจ  ทำให้คิดถึงเพื่อนๆ ที่เคยรู้จักและผูกพัน จึงอยากใช้คำว่า