Lorem ipsum dolor sit amet, consectetuer adipiscing elit, sed diam nonummy nibh euismod tincidunt ut laoreet dolore magna aliquam erat volutpat. Ut wisi enim

Subscribe to our newsletter

Lorem ipsum dolor sit amet, consectetuer adipiscing elit, sed diam nonummy nibh euismod tincidunt ut laoreet dolore magna aliquam
[contact-form-7 id="9582" html_class="default"]

Smart City Tag

"ใต้สุดสยาม เมืองงามชายแดน” นั่นคือเสน่ห์ดั้งเดิมที่อยู่คู่จังหวัดยะลามาอย่างยาวนาน แต่ในปัจจุบันนี้ เมืองใต้สุดแดนสยามกำลังพลิกโฉมไปสู่โลกยุคใหม่ที่มีความทันสมัยภายใต้การบริหารจัดการของหลายองคาพยพ เพื่อพัฒนาเมืองยะลาให้เป็น “สมาร์ท ซิตี้” (Smart City) ภายใต้เป้าหมาย “นครยะลา เมืองน่าอยู่อย่างยั่งยืน” เต็มรูปแบบ ตอบสนองการใช้ชีวิตของคนในพื้นที่และผู้เยี่ยมเยือนให้ได้รับความสะดวกสบาย และปลอดภัย การพัฒนาจังหวัดยะลา ในช่วงที่ผ่านมาเริ่มต้นการพัฒนาจากศูนย์กลาง นั่นคือ “เทศบาลนครยะลา” ให้เป็นสมาร์ท ซิตี้ ซึ่งเริ่มต้นการพัฒนามาตั้งแต่ปี 2564 ภายหลังรัฐบาลได้ประกาศให้เทศบาลนครเมืองยะลา เป็นหนึ่งในเมืองสมาร์ท ซิตี้ ของประเทศไทยในระยะแรก เพราะเห็นว่าเป็นพื้นที่ที่มีความพร้อม และมีความเหมาะสมในการยกระดับให้เป็นศูนย์กลางทางเทคโนโลยีดิจิทัลในกลุ่มจังหวัดชายแดนใต้ เพื่อให้ประชาชนในเมืองมีคุณภาพชีวิตที่ดี และมีความสุขอย่างยั่งยืน “พงษ์ศักดิ์ ยิ่งชนม์เจริญ” นายกเทศมนตรีนครยะลา เปิดเผยว่า ที่ผ่านมาการพัฒนาเมืองยะลาไปสู่การเป็นสมาร์ท ซิตี้ ได้ดำเนินการมาอย่างต่อเนื่อง โดยปัจจุบันขอบเขตของเทศบาลนครยะลา มีชุมชนต่าง ๆ

บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) จับมือ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม เปิดโครงการ วังจันทร์วัลเลย์ เมืองนวัตกรรมอัจฉริยะของประเทศไทย เป็นที่ตั้งของ EECi Headquarters บนพื้นที่ 3,454 ไร่ ท่ามกลางธรรมชาติ ซึ่งเป็นเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก เพื่อผลักดันและพัฒนาผู้ประกอบการในประเทศไทย ให้เปลี่ยนผ่านสู่ธุรกิจแห่งอนาคตและอุตสาหกรรมเป้าหมาย หรือ New S-Curve เพื่อพัฒนา และขับเคลื่อนเศรษฐกิจ รวมถึงยกระดับคุณภาพชีวิตของคนไทยให้ดียิ่งขึ้น ตามนโยบาย Thailand 4.0 ปัจจุบันโครงการวังจันทร์วัลเลย์มีโครงสร้างพื้นฐาน ระบบสาธารณูปโภค พร้อมสิ่งอำนวยความสะดวก ซึ่งถูกออกแบบตามมาตรฐานเมืองอัจฉริยะ Smart City  เพื่อรองรับกลุ่มนักลงทุนหรือผู้สนใจที่จะเข้ามาทำงานวิจัยและสร้างโรงงานต้นแบบ (Pilot Plant) นอกจากนี้